โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนสร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมที่น่าอยู่ เป็นหนึ่งในแนวทางการเปลี่ยนแปลงสังคมผ่านเยาวชนคนรุ่นใหม่ด้วยการใช้สื่อ โดยเฉพาะสื่อออนไลน์ที่เด็กยุคดิจิตอลมีความถนัด มาช่วยสื่อสารปัญหาในสังคม
เกิดเป็นเวทีและนิทรรศการนำเสนอผลงานของนักศึกษาในเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม (University Network for Change : UNC) ภายใต้โครงการเสริมสร้างพลังเยาวชนสร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมที่น่าอยู่ ได้รับการสนับสนุนจากสำนัก งานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับมูลนิธิสยามกัมมาจล มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ สภาคณบดีศิลปศาสตร์แห่งประเทศไทย และภาคประชาสังคม มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างกระแสให้สังคมเห็นตัวอย่างของมหาวิทยาลัยที่ร่วมกับภาคประชาสังคมในการจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากโจทย์จริงของสังคม
(IM) PORTFOLIO พอร์ทโฟลิโอข้ามชาติ ผลงานของกลุ่มนักศึกษาจาก คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต นำเสนอเรื่องของแรงงานข้ามชาติและการอยู่ร่วมกันกับคนไทยโดยนำเสนอด้านดีของแรงงานข้ามชาติผ่านผลงานของพวกเขาทางSocial network ให้คนไทยได้เห็นเพื่อเป็นการปรับมุมมองคนไทยให้มองเห็นด้านดีของแรงงานข้ามชาติบ้าง
รูปแบบผลงาน : ประเภท Print Ad / Portfolio
รูปแบบผลงาน : ประเภท Print Ad / Portfolio
จัดทำโดย : คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
รายชื่อนิสิต/นักศึกษา :
นายธีรพัฒน์ พ่วงเฟื่อง
รายชื่อนิสิต/นักศึกษา :
นายธีรพัฒน์ พ่วงเฟื่อง
นายพงศธร คุ้มปลี
นายธิติวัฒน์ เหล่าวานิชธนรัชต์
นายเอกวิทย์ สมันเลาะ
นางสาวนิชดา อรัณยกานนท์
อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.ดนุ ภู่มาลี
พื้นที่เรียนรู้ : ตลาดไท / ตลาดสี่มุมเมือง (แรงงานเข็นผัก)site ก่อสร้าง
Concept : นำเสนอเรื่องของแรงงานข้ามชาติและการอยู่ร่วมกันกับคนไทยโดยนำเสนอด้านดีของแรงงานข้ามชาติผ่านผลงานของพวกเขาทางSocial network ให้คนไทยได้เห็นเพื่อเป็นการปรับมุมมองคนไทยให้มองเห็นด้านดีของแรงงานข้ามชาติบ้าง
รูปแบบผลงาน : Print Ad / Portfolio
โค้ดคำพูด : “เข้าไปแคมป์งานเขามามีความรู้สึกคือเขาเป็นอยู่ลำบากกว่าคนไทยเยอะเพราะเขาต้องการมาบ้านเราเพื่อพึ่งพาอาศัยเรา เราต้องเป็นผู้ช่วยเหลือเขา แล้วผมคิดว่าผมเป็นนักออกแบบ แล้วเราจะออกแบบอะไรละเพื่อช่วยเหลือเขา”
อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.ดนุ ภู่มาลี
พื้นที่เรียนรู้ : ตลาดไท / ตลาดสี่มุมเมือง (แรงงานเข็นผัก)site ก่อสร้าง
Concept : นำเสนอเรื่องของแรงงานข้ามชาติและการอยู่ร่วมกันกับคนไทยโดยนำเสนอด้านดีของแรงงานข้ามชาติผ่านผลงานของพวกเขาทางSocial network ให้คนไทยได้เห็นเพื่อเป็นการปรับมุมมองคนไทยให้มองเห็นด้านดีของแรงงานข้ามชาติบ้าง
รูปแบบผลงาน : Print Ad / Portfolio
โค้ดคำพูด : “เข้าไปแคมป์งานเขามามีความรู้สึกคือเขาเป็นอยู่ลำบากกว่าคนไทยเยอะเพราะเขาต้องการมาบ้านเราเพื่อพึ่งพาอาศัยเรา เราต้องเป็นผู้ช่วยเหลือเขา แล้วผมคิดว่าผมเป็นนักออกแบบ แล้วเราจะออกแบบอะไรละเพื่อช่วยเหลือเขา”
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น